November 05 2024 05:04:39
เมนู
หน้าแรก
ใบคำร้องฯ
ผลสอบ ๒๕๔๓-๖๖
ขอบข่ายธรรมศึกษา ๒๕๖๔
ขอบข่ายธรรมศึกษา ๒๕๖๑
หนังสือหลักสูตรชั้นตรี ประถม
หนังสือหลักสูตรชั้นตรี มัธยม
หนังสือหลักสูตรชั้นตรี อุดม
รับข้อสอบ ๑
รับข้อสอบ ๒
รับข้อสอบ ๓
ทดสอบสอบความรู้จากข้อสอบธรรมศึกษา 2543-2562
eLearning ธรรมศึกษา
วีดิโอสอนธรรมศึกษา
ระเบียบการจัดสอบ ๒๕๖๐
กระดาษเขียนกระทู้ธรรม ธศ.
สมุดลงนามฯ (สมุดเยี่ยม)
คำปราศรัยฯ นธ.ตรี
ใบปิดหน้าซองบรรจุคำตอบ
บัญชีบรรจุใบตอบปรนัย
ทะเบียนพัสดุหลังสอบ นธ.
ทะเบียนพัสดุหลังสอบ ธศ.
ใบตอบธรรมศึกษาแบบฝน (แบบใหม่ ๒๕๖๑)
วิธีระบายเลขที่สอบ (ธรรมศึกษา)
นักธรรม (ฟอร์มแจ้งสถิติ)
นักธรรม (ฟอร์มขอแก้ไข)
ธรรมศึกษา (ฟอร์มแจ้งสถิติ)
ธรรมศึกษา (ฟอร์มขอแก้ไข)
ดาวน์โหลด
ปัญหา-เฉลย นักธรรม ๖๔
ปัญหา-เฉลย น.ธ.-ธ.ศ. ๖๕
สถิติสอบธรรม ๒๕๖๒
อันดับสำนักเรียนสอบได้มาก

ประวัตินักธรรม
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
ทำเนียบแม่กองธรรม
ทำเนียบผู้บริหารปัจจุบัน
แม่กองธรรมสนามหลวง
เจ้าหน้าที่สำนักงาน
หนังสือประกอบหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรธรรมศึกษา
ระเบียบปฏิบัติทั่วไป
กฏกระทรวง พ.ศ.๒๕๔๘

การขอใบรับรอง

ห้องแสดงภาพ
ห้องสนทนา
บทความ
เว็บลิงค์
คำถามยอดนิยม
ค้นหา

ส่งบทความ
ปฏิทินกิจกรรม

วิดีโอแกลอรี่
เพิ่มวิดีโอ
วีดีทัศน์เกี่ยวกับสอบธรรม 2553
ผู้มีสิทธิสอบ
ฝ่ายธุรการ
รายชื่อรัฐของสหรัฐอเมริกา
ติดต่อสำนักเรียน
จศป.ครูธรรม
ติดต่อสำนักเรียน
ทั่วประเทศ
ส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค (ม)
ส่วนภูมิภาค (ธ)

เจ้าคณะตำบล-อำเภอ-จังหวัด
วัดทั่วประเทศ
สถานศึกษาทั่วประเทศ

สนามสอบทั่วประเทศ
สนามสอบนักธรรม ส่วนกลาง
ระเบียบปฏิบัติ
MOU ธรรมศึกษา
คำปราศรัยฯ น.ธ.ตรี
คำปราศรัยฯ น.ธ.โท-เอก
คำปราศรัยฯ ธรรมศึกษา
ใบปิดหน้าซองบรรจุคำตอบ

ใบตอบธรรมศึกษาแบบฝน
คำอธิบายการฝนใบคำตอบ

ระเบียบการจัดสอบ
กำหนดวันสอบ ๒๕๖๗
ระเบียบฯ ส่วนภูมิภาค ๒๕๖๗
ระเบียบฯ ส่วนกลาง ๒๕๖๗
ระเบียบฯ ส่วนกลาง ภาคผนวก ๒๕๖๗
เล่มสนามสอบ สมัยที่ ๒

วิธีการตรวจข้อสอบนักธรรม
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
สนามหลวง แผนกบาลี
ม.มหามกุฏราชวิทยาลัย
ม.มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
สนง.พระพุทธศาสนาแห่งชาติ
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงวัฒนธรรม
กรมการศาสนา
หัวข้อแนะนำ
พระมหาสมณเจ้าฯ

งานฉลอง ๙๗ พระชันษา

ดูสถิติการเข้าชมเว็บของคุณ
Youtube Gallery
   วิดีโอทั้งหมด (11)
   พระประวัติ และ ประวัติ (3)
   การศึกษาของสงฆ์ไทย (1)
   พิธีเปิดสอบธรรม พ.ศ. 2553 (0)
   คู่มือ-เทคนิค-วิธีการ (7)
วิดีโอล่าสุด
video

video

สนง.พระพุทธศาสนาฯ



ชวนเพื่อนมาชมเว็บนี้

อีเมล์คุณ:
ส่งถึงเพื่อน:
คัดลอกสำเนา?
บทความ: สาระเรื่องอื่น ๆ ทั่วไป
การทำสามีจิกรรม เพื่อความสามัคคีกัน อยู่ร่วมกันโดยสงบสุข
เป็นธรรมเนียมของสงฆ์อย่างหนึ่งที่ภิกษุสามเณรพึงทำความชอบต่อกัน เพื่อความสามัคคีกัน อยู่ร่วมกันโดยสงบสุข การทำความชอบนี้เรียกว่า สามีจิกรรม หมายถึง การขอขมาโทษกัน ให้อภัยกัน ทุกโอกาสไม่ว่าจะมีโทษขัดข้องหมองใจกันหรือไม่ก็ตาม

ครบ ๑๕๐ ปี วันประสูติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ ๑๔ ก.ย. ๕๒
ในวาระที่ครบรอบ ๑๕๐ ปี ในวันประสูติ สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า ฯ องค์ที่ ๘ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ จัดนิทรรศการพระราชประวัติ ณ ตำหนักล่าง วัดบวรนิเวศน์วิหาร ระหว่าง วันที่ ๑๓ กันยายน ๒๕๕๒ - ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๒ เวลา ๐๙.๐๐-๑๖.๓๐ นาฬิกา ไม่เว้นวันหยุดราชการ

ตัดกรรมได้จริงหรือ


ธรรมศึกษา : แก้ปัญหาสังคม (แท้งเถื่อน)
บทความ ธรรมศึกษา : แก้ปัญหาสังคม (แท้งเถื่อน) โดย พระพจนารถ ปภาโส รองหัวหน้าฝ่ายนโยบายและแผน สำนักงานแม่กองธรรมสนามหลวง
อ่านบทความนี้


น.ศ.อาสาสมัครอิ่มบุญ ดูแลผู้เข้าประชุมชาวพุทธโลก
เสร็จสิ้นไปเป็นที่เรียบร้อยสำหรับการประชุมชาวพุทธนานาชาติ เนื่องในวันวิสาขบูชา วันสำคัญสากลของโลกที่ผ่านมา นับเป็นความสำเร็จหนึ่งของประเทศไทยที่สามารถรวบรวมชาวพุทธจากทั่วโลกกว่า 80 ประเทศเข้าร่วมงาน โดยเบื้องหลังความสำเร็จครั้งนี้คงต้องยกความดีความชอบให้กับหลายส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

พระประวัติ สมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ พระองค์ผู้ทรงเริ่มต้นการสอบธรรมศึกษา
สมเด็จพระสังฆราชเจ้ากรมหลวงชินวรสิริวัฒน์ มีพระนามเดิมว่า หม่อมเจ้าภุชงค์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมวงศ์เธอชั้นหนึ่ง กรมขุนเจริญผลภูลสวัสดิ์ กับ หม่อมปุ่น ชุมพูนุท ประสูติ เมื่อวันศุกร์ เดือนอ้าย แรม ๗ ค่ำ ปีมะแม ตรงกับวันที่ ๑๖ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๐๒

ศรีวิชัยปลุกจิตสำนึก นำ น.ศ.ทำบุญเข้าพรรษา
ผศ.อุไรวรรณ สุภานินิตย์ รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย (มทร.ศรีวิชัย) เล็งเห็นความสำคัญทางพุทธศาสนา และต้องการปลุกจิตสำนึกที่ดีให้กับนักศึกษา

สาระความรู้ทางอินเตอร์เน็ต : โปรแกรมดูดเว็บ สร้างความเดือดร้อนกันทั่วหน้า
เมื่อก่อน ตอนที่ internet ยังไม่เร็ว การจะเปิดหน้าเว็บแต่ละหน้าต้องใช้เวลานานมาก บางหน้าก็ 5-10 นาที โดยประมาณ ซึ่งต้องอดทนรอเป็นอย่างมาก นั่งเฝ้าตลอด

สุขภาพพระสงฆ์
จากผลสุ่มตรวจสุขภาพพระสงฆ์ล่าสุด ในปี 2551 ทั้งหมด 24,445 รูป ครอบคลุม 4 ภาค พบว่ามีพระสุขภาพดี ไม่พบความผิดปกติเพียงร้อยละ 49 (ในจำนวนนี้พระสงฆ์ที่สุขภาพดีที่สุด อยู่ในภาคเหนือ ร้อยละ 77) ที่เหลือร้อยละ 51 แบ่งเป็นร้อยละ 28 เป็นโรคแล้ว

หมอชีวกโกมารภัจจ์ (ตอนที่ 1)
หมอชีวกโกมารภัจจ์ ได้รับการยกย่องให้เป็นปรมาจารย์ทางด้านแพทย์แผนตะวันออกที่ใช้สมุนไพรรักษาโรคและดูแลสุขภาพ ตัวยาสมุนไพรต่างๆ ที่แพทย์ตะวันออกสั่งสอนและใช้รักษาโรค ส่วนใหญ่มีรากฐานมาจากองค์ความรู้ที่ถ่ายทอดสืบต่อกันมาตั้งแต่ยุคหมอชีวกโกมารภัจจ์ทั้งสิ้น ด้วยเหตุนี้เอง เวลาแพทย์แผนตะวันออกจะปรุงยาแต่ละครั้งต้องไหว้ครูเพื่อรำลึกถึงหมอชีวกโกมารภัจจ์ ต้นตำรับยาสมุนไพรและครูอาจารย์ที่ได้อนุรักษ์ตำรับตำราตกทอดมาถึงปัจจุบัน

หมอชีวกโกมารภัจจ์ (ตอนที่ 2) เริ่มรักษาคนไข้
หมอชีวกเรียนจบแพทย์แล้ว ได้กราบลาอาจารย์ทิศาปาโมกข์เดินทางกลับกรุงราชคฤห์บ้านเกิดเมืองนอน ที่ได้จากมาเป็นเวลาหลายปี แต่ระยะทางจากเมืองตักกสิลาไปยังกรุงราชคฤห์ห่างไกลมาก ประกอบกับถนนหนทางสัญจรก็ทุรกันดาร ต้องรอนแรมเดินทางหลายวันกว่าจะพบหมู่บ้านร้านตลาดสักครั้งหนึ่ง แล้วต้องตะบึงเข้าสู่เส้นทางที่ยากลำบากต่อไป นอกจากหนทางที่สัญจรขรุขระเป็นหลุมเป็นบ่อ ต้องย่ำโคลนตมไปอย่างทุลักทุเลในฤดูฝนแล้ว เมื่อแดดส่องแรงไม่นานฝุ่นคละคลุ้งเกาะติดตามใบหน้า เนื้อตัวเหมือนหุ่นดินปั้นเดินได้แล้ว ยังต้องเผชิญหน้ากับสิงสาราสัตว์ที่ไม่เคยพบเคยเห็นอีกมากมาย แม้จะไม่มีสัตว์ตัวใดมุ่งเข้ามาทำร้าย แต่ก็ทำให้หวาดกลัวและอกสั่นขวัญแขวนไม่น้อยเหมือนกัน

หมอชีวกโกมารภัจจ์ (ตอนที่ 3) รักษาริดสีดวงทวาร
คราวหนึ่งพระเจ้าพิมพิสาร ทรงประชวรเป็นริดสีดวงทวาร พระโลหิตไหลออกมาเปื้อนพระภูษาอยู่เป็นประจำ เวลาเสด็จไปปฏิบัติพระราชกรณียกิจหรือเสด็จออกราชการในที่ใดๆ พระโลหิตก็จะเปื้อนพระภูษาอยู่อย่างนั้น จนบรรดาสนมน้อยใหญ่ทั้งหลายพากันแอบกระซิบกระซาบอย่างสนุกสนานว่า เวลานี้พระเจ้าแผ่นดิน ทรงมีระดู สงสัยทรงมีต่อมพระโลหิตเหมือนกับพวกเรา อีกไม่นาน คงจะมีพระประสูติกาลเป็นแน่
แสดงผลในเวลา: 0.01 วินาที 139,487,082 ผู้เยี่ยมชม