April 24 2024 20:16:21
เมนู
หน้าแรก
ใบคำร้องฯ
ผลสอบ ๒๕๔๓-๖๖
ขอบข่ายธรรมศึกษา ๒๕๖๔
ขอบข่ายธรรมศึกษา ๒๕๖๑
หนังสือหลักสูตรชั้นตรี ประถม
หนังสือหลักสูตรชั้นตรี มัธยม
หนังสือหลักสูตรชั้นตรี อุดม
ทดสอบสอบความรู้จากข้อสอบธรรมศึกษา 2543-2562
eLearning ธรรมศึกษา
วีดิโอสอนธรรมศึกษา
ระเบียบการจัดสอบ ๒๕๖๐
กระดาษเขียนกระทู้ธรรม ธศ.
สมุดลงนามฯ (สมุดเยี่ยม)
คำปราศรัยฯ ธรรมศึกษา
ใบปิดหน้าซองบรรจุคำตอบ
บัญชีบรรจุใบตอบปรนัย
ทะเบียนพัสดุหลังสอบ น.ธ.
ทะเบียนพัสดุหลังสอบ ธ.ศ.
ใบตอบธรรมศึกษาแบบฝน (แบบใหม่ ๒๕๖๑)
วิธีระบายเลขที่สอบ (ธรรมศึกษา)
นักธรรม (ฟอร์มแจ้งสถิติ)
นักธรรม (ฟอร์มขอแก้ไข)
ธรรมศึกษา (ฟอร์มแจ้งสถิติ)
ธรรมศึกษา (ฟอร์มขอแก้ไข)
ดาวน์โหลด
ปัญหา-เฉลย นักธรรม ๖๔
ปัญหา-เฉลย น.ธ.-ธ.ศ. ๖๕
สถิติสอบธรรม ๒๕๖๒
อันดับสำนักเรียนสอบได้มาก

ประวัตินักธรรม
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
ทำเนียบแม่กองธรรม
ทำเนียบผู้บริหารปัจจุบัน
แม่กองธรรมสนามหลวง
เจ้าหน้าที่สำนักงาน
หนังสือประกอบหลักสูตร
ปรับปรุงหลักสูตรธรรมศึกษา
ระเบียบปฏิบัติทั่วไป
กฏกระทรวง พ.ศ.๒๕๔๘

การขอใบรับรอง

ห้องแสดงภาพ
ห้องสนทนา
บทความ
เว็บลิงค์
คำถามยอดนิยม
ค้นหา

ส่งบทความ
ปฏิทินกิจกรรม

วิดีโอแกลอรี่
เพิ่มวิดีโอ
วีดีทัศน์เกี่ยวกับสอบธรรม 2553
ผู้มีสิทธิสอบ
ฝ่ายธุรการ
รายชื่อรัฐของสหรัฐอเมริกา
ติดต่อสำนักเรียน
จศป.ครูธรรม
ติดต่อสำนักเรียน
ทั่วประเทศ
ส่วนกลาง
ส่วนภูมิภาค (ม)
ส่วนภูมิภาค (ธ)

เจ้าคณะตำบล-อำเภอ-จังหวัด
วัดทั่วประเทศ
สถานศึกษาทั่วประเทศ

สนามสอบทั่วประเทศ
สนามสอบนักธรรม ส่วนกลาง
ระเบียบปฏิบัติ
MOU ธรรมศึกษา
คำปราศรัยฯ น.ธ.ตรี
คำปราศรัยฯ น.ธ.โท-เอก
คำปราศรัยฯ ธรรมศึกษา
ใบปิดหน้าซองบรรจุคำตอบ

ใบตอบธรรมศึกษาแบบฝน
คำอธิบายการฝนใบคำตอบ

ระเบียบการจัดสอบ
กำหนดวันสอบ ๒๕๖๖
ระเบียบฯ ส่วนภูมิภาค ๒๕๖๖
ระเบียบฯ ส่วนกลาง ๒๕๖๖
ระเบียบฯ ส่วนกลาง ภาคผนวก ๒๕๖๖
เล่มสนามสอบ สมัยที่ ๒

วิธีการตรวจข้อสอบนักธรรม
เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง
สนามหลวง แผนกบาลี
ม.มหามกุฏราชวิทยาลัย
ม.มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
สนง.พระพุทธศาสนาแห่งชาติ
กระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงวัฒนธรรม
กรมการศาสนา
หัวข้อแนะนำ
พระมหาสมณเจ้าฯ

งานฉลอง ๙๗ พระชันษา

ดูสถิติการเข้าชมเว็บของคุณ
Youtube Gallery
   วิดีโอทั้งหมด (11)
   พระประวัติ และ ประวัติ (3)
   การศึกษาของสงฆ์ไทย (1)
   พิธีเปิดสอบธรรม พ.ศ. 2553 (0)
   คู่มือ-เทคนิค-วิธีการ (7)
วิดีโอล่าสุด
video

video

สนง.พระพุทธศาสนาฯ



ชวนเพื่อนมาชมเว็บนี้

อีเมล์คุณ:
ส่งถึงเพื่อน:
คัดลอกสำเนา?
สุขภาพพระสงฆ์
สุขภาพพระสงฆ์


แม้รัฐบาลจะมีโรงพยาบาลสงฆ์และตึกสงฆ์อาพาธสำหรับตรวจรักษาพระภิกษุ-สามเณรโดยเฉพาะ

แต่จากการวิจัยทางด้านสาธารณสุขหลายหน่วยงาน พบว่าพระสงฆ์มีปัญหาทางด้านสุขภาพมาก

โดยเฉพาะโรคทางเดินอาหาร โรคเครียด และโรคอันเนื่องจากการสูบบุหรี่

หลังจากมีการรณรงค์งดถวายบุหรี่พระสงฆ์ รวมถึงการรณรงค์วัดปลอดบุหรี่ ทำให้พระขี้ยาน้อยลง

เมื่อเร็วๆ นี้ นายวิทยา แก้วภราดัย รมว.สาธารณสุข เปิดเผยถึงผลการตรวจสอบสภาวะสุขภาพพระสงฆ์ ในรอบ 2 ปี ที่ผ่านมาว่า มีพระสงฆ์ครึ่งหนึ่งสุขภาพไม่ดี และอีกครึ่งหนึ่ง สุขภาพพอผ่านเกณฑ์ ในส่วนที่สุขภาพไม่ดีนั้น พบว่ามีโรคมาก และมีปัญหาเรื่องการเข้าสู่ระบบบริการสุขภาพ เนื่องจากวิถีการดำเนินชีวิตที่ต้องอยู่ในกรอบวินัยสงฆ์

เรื่องนี้กระทรวงจะหารือกับสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ขอตั้งงบประมาณในการตรวจดูแลสุขภาพพระสงฆ์ หากพระสงฆ์รูปใด มีอายุเกิน 50 ปี ควรได้รับการตรวจสุขภาพปีละครั้ง

นอกจากนี้ กระทรวงสาธารณสุขวางเป้าหมาย ที่จะสร้างสุขภาพพระสงฆ์ในวัดทั้งประเทศเกือบ 40,000 แห่ง ซึ่งมีพระสงฆ์จำพรรษากว่า 3 แสนรูป เป็นกลุ่มเฉพาะ และต้องถวายการดูแล แยกออกจากฆราวาสทั่วไป

จากผลสุ่มตรวจสุขภาพพระสงฆ์ล่าสุด ในปี 2551 ทั้งหมด 24,445 รูป ครอบคลุม 4 ภาค พบว่ามีพระสุขภาพดี ไม่พบความผิดปกติเพียงร้อยละ 49 (ในจำนวนนี้พระสงฆ์ที่สุขภาพดีที่สุด อยู่ในภาคเหนือ ร้อยละ 77) ที่เหลือร้อยละ 51 แบ่งเป็นร้อยละ 28 เป็นโรคแล้ว

สำหรับโรคที่พบว่าพระสงฆ์เป็นกันมาก และเข้ารักษาตัวมากเป็นอันดับ 1 คือ โรคเบาหวาน ปีละกว่า 3,000 รูป มากที่สุดในภาคกลาง พบร้อยละ 39 อีกร้อยละ 24 มีความผิดปกติแล้ว หากไม่แก้ไขจะกลายเป็นผู้ป่วยใหม่ทันที

ส่วนที่พบความผิดปกติสูงสุด คือ ไขมันในเลือดสูงร้อยละ 18 รองลงมา คือ โรคความดันโลหิตสูง ร้อยละ 6 โรคเบาหวาน ร้อยละ 5 โรคอ้วน ร้อยละ 3 โรคหลอดเลือด และหัวใจ ร้อยละ 2 รวมถึงโรคถุงลมปอดอุดตันเรื้อรัง ร้อยละ 2

การดูแลสุขภาพพระสงฆ์-สามเณร ถือเป็นการทำบุญอีกรูปแบบหนึ่ง

อ้างอิงข่าว : ข่าวสด วันที่ 06 มิถุนายน พ.ศ. 2552 ปีที่ 19 ฉบับที่ 6764
คะแนน
สามารถให้คะแนนได้เฉพาะสมาชิกเท่านั้น.

โปรดเข้าสู่ระบบก่อนการให้คะแนน.

ยังไม่มีการให้คะแนน.
แสดงผลในเวลา: 0.01 วินาที 119,729,945 ผู้เยี่ยมชม